วิธีป้องกันและวิธีรักษาเมื่อถูกงูกัด
- พยายามให้เหยื่อที่ถูงูกัดสงบและนิ่ง
- พยายามให้บริเวณรอยกัดนั้นต่ำกว่าระดับหัวใจ เพื่อป้องกันพิษงูแล่นเข้าสู่หัวใจ


- ล้างมือให้สะอาดหรือใส่ถุงมือยางก่อนสัมผัสบริเวณแผลงูกัด
- หากรอยกัดไม่ทำให้สูญเสียเลือด ให้ทำความสะอาดแผลให้ดีด้วยสบู่อ่อนและน้ำ ใช้ก้านสำลีหรือจะใช้วัตถุอื่นๆ ที่ไม่เป็นนทำความสะอาดแผลให้แห้ง
- หากรอยกัดทำให้เสียเลือด ให้หยุดเลือดด้วยการกดตรงแผลด้วยผ้าแห้งสะอาดตจนกว่าเลือดจะหยุดไหล
- นำสิ่งองต่างๆ ที่บีบรัดออกไป
- ใช้ถุงประคบเย็นวางเหนือบริเวณแขนหรือา ที่เป็นแผลพันด้วยผ่าพันแผล
- กันพิษบาดแผลที่บาดเจ็บที่แขนด้วยสลิง และกันพิษบาดแผลที่ขาด้วยการรัดที่ขาบาดเจ็บ
- หากผู้ป่วยหยุดหายใจ ให้เตรียมพร้อมเพื่อปั้มลมหายใจถ้าจำเป็น
- สังเกตรอยกัดเพื่อหาร่องรอยการอักเสบ (ผิวหนังเริ่มแดงขึ้นแผลบวมขยาย) และสัญาณสำคัญอื่นๆ (อุณภูมิในร่างกายจังหวะหัวใจ อัตรายการหายใจ ความดันโลหิต)
- หากบริเวณรอบๆ แผลเริ่มบวมหรือเปลี่ยนสี งูที่กัดนั้นอาจเป็นงูพิษ
- ทำการรักาให้เร็วที่สุด

คำเตือนเมื่อถูกงูกัด
- อย่าใช้น้ำแข็งหรือถุงประคบเย็นประคบที่รอยงูกัดเพราะความเย็นเป็นเหตุทำให้พาขยายตัวมากขึ้น
- อย่าใช้สายลัดห้ามเลือด เช่นเข็มขัด เนกไท หรือสายเคเบิล
- อย่าเฉียนบาดแผลด้วยมีด
- อย่าใช้ปากเพื่อดูดพิษออก
- ผู้ป่วยไม่ควรเคลื่อนไหวร่างกายมาก
- บริเวณที่ถูกงูกัดไม่ควรสูงกว่าระดับหัวใจ
- ห้ามใช้สารกระตุ้นหรือยาแก้ปวดโดยไม่มีใบสั่งยาจากแพทย์
- หลีกเลี่ยงการเคลื่อนนย้ายผ้าพันแผลหรือปลาสเตอร์ปิดแผลจนกระทั่งคุณพร้อมจะได้รับและสามารถรับยาต้านพิษงู
- ห้ามดื่มหรือกินอะไร ยกเว้นแต่แพทย์จะบอก

วิธีการป้องกันเมื่อถูกงูกัด
- อย่าใช้มือหรือเท้าสอดไปในบริเวณที่คุณไม่สามารถมองเห็นข้างในได้
- หลีกเลี่ยงการเล่นหรือการจับงู ยกเว้นแต่คุณได้รับการฝึกฝนมาอย่างถูกต้อง
- หากเป็นไปผได้ควรสวมกางเกงายาวและร้องเท้าบูต ในณะที่ปีนเขาบริเวณที่รู้อยู่แล้วว่ามีงู
- หากให้การเตือนที่พอดี งูจะหลีกเลี่ยงไม่เมาใกล้คุณ ดังนั้น ก่อนที่จะเข้าไปยังบริเวณที่รกให้เคาะข้างหน้าด้วยไม่เท้า