1             การบริหารจัดการ

1.1         นโยบายด้านสุขศึกษาหรือสร้างเสริมสุขภาพของโรงพยาบาล

1.2         บุคลากรดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ

 

2                  กระบวนงานสุขศึกษาในกลุ่มไม่ป่วยเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน

2.1         ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ (HB) และหรือ ข้อมูลความรอบรู้ด้านสุขภาพ (HL) ที่สอดคล้องกับปัญหาสุขภาพที่สำคัญตามภารกิจของโรงพยาบาล

2.2         การวิเคราะห์ปัจจัยสาเหตุพฤติกรรมสุขภาพ ที่สอดคล้องกับปัญหาสุขภาพที่สำคัญตามภารกิจของโรงพยาบาล

2.3          แผนงาน หรือ โครงการ หรือโปรแกรมสุขศึกษา หรือแผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษาที่มีวัตถุประสงค์หรือตัวชี้วัดพฤติกรรมสุขภาพที่สอดคล้องกับปัญหาสุขภาพที่สำคัญ ตามภารกิจของโรงพยาบาล

2.4         การออกแบบกิจกรรมและใช้สื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ที่สอดคล้องกับปัจจัยสาเหตุพฤติกรรมสุขภาพ และปัญหาความต้องการและวิถีชีวิตของกลุ่มเป้าหมาย

2.5          แผนงาน หรือโครงการ หรือ โปรแกรมสุขศึกษา หรือแผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษาจัดทำโดยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสุขศึกษา / ทีมสหวิชาชีพ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเครือข่ายตัวแทนภาคประชาชน

2.6          แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานสุขศึกษา และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ

2.7          การจัดกิจกรรมตามแผนงาน หรือ โครงการ หรือ โปรแกรมสุขศึกษา หรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษา

2.8          การสนับสนุน เสริมพลังให้กับภาคีเครือข่าย แกนนำสุขภาพภาคประชาชน ในการดำเนินงานสุขศึกษา และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ

2.9          การประเมิน และรายงานผลการดำเนินงาน

 

3             กระบวนการสุขศึกษาในกลุ่มป่วยเพื่อส่งเสริมการจัดการตนเองในผู้ป่วยและญาติ

3.1         ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ (HB) และหรือ ข้อมูลความรอบรู้ด้านสุขภาพ (HL) ที่สอดคล้องกับปัญหาสุขภาพที่สำคัญของผู้ป่วย

3.2          มีการวิเคราะห์ปัจจัยสาเหตุพฤติกรรมสุขภาพ ที่สอดคล้องกับปัญหาสุขภาพที่สำคัญของผู้ป่วย

3.3          แผนงาน หรือ โครงการ หรือ โปรแกรมสุขศึกษา หรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษาที่มีวัตถุประสงค์หรือตัวชี้วัดพฤติกรรมสุขภาพที่       สอดคล้องกับปัญหาสุขภาพที่สำคัญของผู้ป่วย

3.4          การออกแบบกิจกรรม และใช้สื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขศึกษา ที่สอดคล้องกับปัจจัยสาเหตุพฤติกรรมสุขภาพ และปัญหา ความต้องการวิถีชีวิตของผู้ป่วยและญาติ

3.5          แผนงาน หรือโครงการ หรือโปรแกรมสุขศึกษาหรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษา จัดทำโดยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการ สุขศึกษา ทีมสหวิชาชีพ ผู้ป่วยและญาติ

3.6          แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานสุขศึกษา พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ

3.7          การจัดกิจกรรมตามแผนงาน หรือ โครงการ หรือ โปรแกรมสุขศึกษา หรือ แผนการจัดกิจกรรมสุขศึกษา

3.8          การสนับสนุน เสริมพลังให้กับภาคีเครือข่าย ผู้ป่วยและญาติ ในการดำเนินงานสุขศึกษา และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ 

3.9          การประเมินและรายงานผลการดำเนินงาน

 

4             ผลลัพธ์การดำเนินงานสุขศึกษา และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ

4.1         กลุ่มเป้าหมายที่ผ่านกระบวนการสุขศึกษามีพฤติกรรมสุขภาพ (HB) หรือความรอบรู้ทางสุขภาพ (HL) ในปัญหาสุขภาพที่สำคัญเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีขึ้น

4.2          กลุ่มเป้าหมายที่ผ่านกระบวนการสุขศึกษามีภาวะสุขภาพเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีขึ้น

4.3          การเผ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ

4.4          งานวิจัย หรือ นวัตกรรม หรือ ต้นแบบ หรือผลงานเด่นที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินงนสุขศึกษา และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ 

4.5          ความพึงพอใจต่อกระบวนการสุขศึกษาตามแผนงานโครงการ